API Documentation
API Documentation for iApp Advanced Search Engine
Previousระบบค้นหาเอกสารอัตโนมัติโดย iApp (Advanced Search Engine by iApp)NextOn-Premise Installation
Last updated
API Documentation for iApp Advanced Search Engine
Last updated
Successful response
OK
OK
OK
OK
OK
OK
OK
OK
OK
CREATED
OK
OK
const response = await fetch('http://{{host}}/admincourt2/xW72wYQBOcHQv00gacQc', {
method: 'DELETE',
headers: {},
});
const data = await response.json();
text
const response = await fetch('http://{{host}}/test', {
method: 'DELETE',
headers: {},
});
const data = await response.json();
text
const response = await fetch('http://{{host}}/log/admincourt2', {
method: 'DELETE',
headers: {},
});
const data = await response.json();
const response = await fetch('http://{{host}}/', {
method: 'GET',
headers: {},
});
const data = await response.json();
text
const response = await fetch('http://{{host}}/synonym', {
method: 'GET',
headers: {},
});
const data = await response.json();
const response = await fetch('http://{{host}}/synonym', {
method: 'PUT',
headers: {
"Content-Type": "application/json"
},
body: JSON.stringify([
"0,๐",
"1,๑",
"2,๒",
"3,๓",
"4,๔",
"5,๕",
"6,๖",
"7,๗",
"8,๘",
"9,๙",
"แปดริ้ว,ฉะเชิงเทรา",
"โคราช,นครราชสีมา",
"แม่กลอง,สมุทรสงคราม",
"มหาชัย,สมุทรสาคร",
"สองแคว,พิษณุโลก",
"เมืองคอน,นครศรีธรรมราช",
"ปากน้ำ,สมุทรปราการ",
"บ้านดอน,สุราษฎร์",
"นครพริ้ง,เชียงใหม่",
"เมืองเก่า,อยุธยา",
"ปากช่อง,นครราชสีมา",
"ลับแล,อุตรดิตถ์",
"กรุงเก่า,อยุธยา",
"ปากน้ำโพ,นครสวรรค์",
"บ้านเดื่อหมากแข้ง,อุดรธานี",
"ทับเที่ยง,ตรัง",
"ระแหง,ตาก",
"บางปลาสร้อย,ชลบุรี",
"เมืองยศ,ยโสธร",
"ท่าอิฐ,อุตรดิตถ์",
"บางนรา,นราธิวาส",
"หละกอน,เขลางค์,ลำปาง",
"เวียงพิงค์,เชียงใหม่",
"เรณูนคร,นครพนม",
"เมืองจันท์,จันทบุรี",
"เมืองแพรก,ชัยนาท",
"นครไชยศรี,นครปฐม",
"สามโคก,ปทุมธานี",
"กทม.,กรุงเทพมหานคร,กทม,ก.ท.ม.,กรุงเทพ",
"พยาบาล,แพทย์,โรงพยาบาล,หมอ"
]),
});
const data = await response.json();
const response = await fetch('http://{{host}}/collections', {
method: 'GET',
headers: {},
});
const data = await response.json();
const response = await fetch('http://{{host}}/autocorrect', {
method: 'PUT',
headers: {
"Content-Type": "application/json"
},
body: JSON.stringify({
"ป้่ากกา": 30,
"มะนาว": 20
}),
});
const data = await response.json();
const response = await fetch('http://{{host}}/autocorrect/ปากา', {
method: 'GET',
headers: {},
});
const data = await response.json();
const response = await fetch('http://{{host}}/admincourt2/09013-600105-2F-601017-0000608200', {
method: 'PUT',
headers: {
"Content-Type": "application/json"
},
body: JSON.stringify({
"answer": "จึงมีคำสั่งยืนตามคำสั่งของศาลปกครองชั้นกลาง",
"body": "\t\t\t\t\t EMBED MSPhotoEd.3 \t คำร้องที่ คร. ๑๐๕/๒๕๖๐\n\t\t\t\t\t\t\t\t คำสั่งที่ คร. ๓๓/๒๕๖๐\nในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์\n ศาลปกครองสูงสุด\n วันที่ ๕ เดือน กันยายน พุทธศักราช ๒๕๖๐\n\n\t\tนายคงเดชา ชัยรัตน์\t\t\t\t\t\t\t ผู้ฟ้องคดี\n\t\t\n\t\t\n\n \t\tรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง\t\t\t\t ผู้ถูกฟ้องคดี\n\nเรื่อง\tคดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่
ตามที่กฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร (คำร้อง
อุทธรณ์คำสั่งไม่รับคำฟ้องบางข้อหาไว้พิจารณา)\n\n \t\tผู้ฟ้องคดียื่นคำร้องอุทธรณ์คำสั่ง ในคดีหมายเลขดำที่ ๑๘๒๓/๒๕๕๙ ของ
ศาลปกครองชั้นต้น (ศาลปกครองกลาง)\n \t\tคดีนี้ผู้ฟ้องคดีฟ้องและแก้ไขเพิ่มเติมคำฟ้องว่า ผู้ฟ้องคดีเป็นพนักงาน
ของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย มีชื่อย่อว่า ธพว. ตำแหน่งผู้ชำนาญการ ระดับ ๑๕ (เทียบเท่ารองกรรมการผู้จัดการ) ผู้ฟ้องคดียื่นหนังสือต่อนายกรัฐมนตรีขอให้นายกรัฐมนตรีสั่งการให้มีการดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย
กรณีกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยปฏิบัติหน้าที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย จำนวน ๒ เรื่อง เรื่องที่หนึ่ง ประธาน
กรรมการและกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยเข้าร่วมประชุมพิจารณาเรื่องที่ตนเองมีส่วนได้เสียอันต้องห้าม ตามมาตรา ๒๐
แห่งพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๔๕ และเป็นเหตุให้กรรมการพ้นจากตำแหน่งตามมาตรา ๑๗ (๕) แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน กล่าวคือ คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยตามคำสั่งคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทย ที่ ๓๔/๒๕๕๗ ได้อนุมัติสินเชื่อให้กับห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ
เมื่อวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๗ วงเงินรวม ๑๒๕.๕๐ ล้านบาท ตามมติคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๗ วันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๗ ต่อมา ธนาคารแห่งประเทศไทยมีหนังสือ ที่ ธปท.ฝกฉ.(๗๑) ล.๘๒/๒๕๕๘
ลงวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๘ ให้ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการอนุมัติสินเชื่อให้แก่ลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด
โรงสีข้าวจงเจริญ และรายงานผลการสอบสวนให้ธนาคารแห่งประเทศไทยทราบภายใน ๖๐ วัน คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ได้มีการประชุม
ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๘ วันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๘ เพื่อพิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
ข้อเท็จจริงกรณีการอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ
และออกคำสั่งคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ที่ ๑๖/๒๕๕๘ ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
ข้อเท็จจริง ทั้งที่กรรมการทุกคนที่เข้าร่วมประชุมทราบว่าตนเองเป็นผู้มีส่วนได้เสียโดยตรง
ในเรื่องที่พิจารณา เนื่องจากได้เคยร่วมกันประชุมและมีมติอนุมัติสินเชื่อให้กับห้างหุ้นส่วนจำกัด
โรงสีข้าวจงเจริญ ต่อมา กรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อมแห่งประเทศไทยยังร่วมกันประชุม และมีมติในเรื่องที่ตนเองมีส่วนได้เสียอีกในการ
ประชุมคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
ครั้งที่ ๒๑/๒๕๕๘ วันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๘ และครั้งที่ ๒๖/๒๕๕๘ วันที่ ๙ พฤศจิกายน
๒๕๕๘ เรื่อง ปรับปรุงองค์ประกอบคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงกรณีการอนุมัติ
สินเชื่อให้กับลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ นอกจากนี้ เมื่อการสอบสวน
ข้อเท็จจริงแล้วเสร็จ คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยได้ร่วมกันประชุมพิจารณาผลการสอบสวนและมีมติให้ความเห็นชอบ
อันเป็นการร่วมกันพิจารณาในเรื่องที่กรรมการทุกคนมีส่วนได้เสียอีกครั้ง ซึ่งต้องห้ามตาม
มาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ และเป็นเหตุให้กรรมการต้องพ้นจากตำแหน่งตามมาตรา ๑๗ (๕)
แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน ผู้ฟ้องคดีมีหนังสือลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๙ และวันที่
๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ขอให้นายกรัฐมนตรีสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องวินิจฉัยสถานะของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยและดำเนินการตามกฎหมาย ต่อมา สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
มีหนังสือลงวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๙ แจ้งผู้ฟ้องคดีว่า ได้ส่งเรื่องให้ผู้ถูกฟ้องคดีซึ่ง
มีหน้าที่รับผิดชอบดำเนินการแล้ว แต่ผู้ฟ้องคดียังไม่ได้รับแจ้งผลการพิจารณา จึงนำคดี
มาฟ้องต่อศาลปกครองในฐานะที่ผู้ฟ้องคดีเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากมติที่ประชุมที่ไม่ชอบ
ด้วยกฎหมายดังกล่าว เพราะคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยมีมติในการประชุม ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๘ วันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๘ แต่งตั้ง
ผู้ฟ้องคดีเป็นกรรมการในคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงกรณีการอนุมัติสินเชื่อให้กับ
ลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ ต่อมา คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยมีมติในการประชุม ครั้งที่ ๒๖/๒๕๕๘ วันที่ ๙
พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ปลดผู้ฟ้องคดีออกจากการเป็นกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงโดยไม่ได้
แสดงเหตุผล ทำให้ผู้ฟ้องคดีได้รับความเสียหายต่อชื่อเสียง อาจถูกมองว่าปฏิบัติงาน
บกพร่อง และผู้ฟ้องคดีเป็นผู้บริหารระดับสูงซึ่งจะต้องนำมติที่ประชุมของคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ที่มีเหตุต้องพ้นจากตำแหน่งไปใช้ปฏิบัติงาน แต่ผู้ปฏิบัติงานไม่มั่นใจในการปฏิบัติตามมติที่ประชุมดังกล่าวเพราะอาจเสียเปล่าในภายหลัง ทำให้การสั่งการให้ปฏิบัติตามมติที่ประชุมเกิดข้อยุ่งยากและเกิดความเดือดร้อนในการบริหารงาน อีกทั้งผู้ฟ้องคดีในฐานะประชาชนที่พบเห็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐและได้ทำหนังสือแจ้งไปยังหน่วยงานที่รัฐบาลกำหนดไว้เป็นช่องทางรับเรื่องราวร้องทุกข์หรือแจ้งเบาะแส แต่ไม่ได้รับการชี้แจงหรือคำตอบจากหน่วยงาน เรื่องที่สอง คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบจากการแต่งตั้งบุคคลที่มี
ลักษณะต้องห้ามเป็นกรรมการสรรหากรรมการผู้จัดการ กล่าวคือ พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา ๘ จัตวา บัญญัติว่า ในการจ้างและแต่งตั้งผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ ให้คณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจนั้น ตั้งคณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่งมีจำนวนห้าคน ซึ่งต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๘ ตรี (๑) (๓) (๔) (๕) (๖) (๑๑) และ (๑๒) และลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๘ ตรี (๑๒) บัญญัติว่า ไม่เป็นหรือภายในระยะเวลาสามปีก่อนวันได้รับแต่งตั้ง ไม่เคยเป็นกรรมการหรือผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจในการจัดการหรือมีส่วนได้เสีย
ในนิติบุคคลซึ่งเป็นผู้รับสัมปทาน ผู้ร่วมทุน หรือมีประโยชน์ได้เสียเกี่ยวข้องกับกิจการของ
รัฐวิสาหกิจนั้น เว้นแต่การเป็นประธานกรรมการหรือกรรมการในนิติบุคคลดังกล่าวโดยการมอบหมายของรัฐวิสาหกิจนั้น แต่คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยได้แต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะกิจเพื่อสรรหากรรมการผู้จัดการ ธพว. จำนวน ๕ คน เป็นกรรมการ ธพว. ๔ คน และอีก ๑ คน เป็นบุคคลภายนอก
โดยกรรมการจำนวน ๓ คน จาก ๕ คน ที่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย ได้แก่ นายเวทย์ นุชเจริญ ดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการของบริษัท ศรีสวัสดิ์ พาวเวอร์ ๑๙๗๙ จำกัด (มหาชน) เป็นกรรมการของบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน) และเคยเป็นรองกรรมการผู้จัดการ
อาวุโสธนาคารกรุงไทย นางพรรณขนิตตา บุญครอง ดำรงตำแหน่งกรรมการของบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน) และนางเสาวนีย์ กมลบุตร เคยดำรงตำแหน่งประธานกรรมการธนาคารทหารไทย ซึ่งบริษัทและธนาคารข้างต้นเป็นนิติบุคคลที่มีประโยชน์ได้เสียเกี่ยวข้องกับกิจการของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย นอกจากนั้นในขั้นตอนการแต่งตั้ง คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยและกรรมการผู้จัดการ ธพว. (ที่รักษาการในขณะนั้น) ไม่ได้ส่งรายชื่อและประวัติของผู้ที่จะได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้จัดการ ธพว. ไปให้ธนาคาร
แห่งประเทศไทยเพื่อตรวจสอบความเหมาะสมก่อนการแต่งตั้ง เป็นการไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง
กระทรวงการคลัง ที่ ๔๓๓/๒๕๕๘ ลงวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ เรื่อง มอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยกำกับดูแลสถาบันการเงินเฉพาะกิจ อีกทั้งคุณสมบัติของผู้ได้รับคัดเลือก
ให้ดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ธพว. (นายมงคล ลีลาธรรม) อาจไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย และประกาศของคณะกรรมการเฉพาะกิจเพื่อสรรหา
กรรมการผู้จัดการ ธพว. เนื่องจากนายมงคล ลีลาธรรม เคยดำรงตำแหน่งกรรมการ
ผู้จัดการและกรรมการบริหารบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ มหานครทรัสต์ จำกัด ซึ่งถูกธนาคาร
แห่งประเทศไทยสั่งปิดกิจการและเพิกถอนใบอนุญาต และเคยดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการ
องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) และถูกเลิกจ้าง
เพราะได้อนุมัติโครงการที่มีวงเงินเกิน ๕๐ ล้านบาท โดยไม่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ
นโยบาย อันเป็นการกระทำผิดระเบียบขององค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะ
แห่งประเทศไทย ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๕๓ และฝ่าฝืนมติของคณะกรรมการนโยบาย
ผู้ฟ้องคดีจึงมีหนังสือลงวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๙ ขอให้นายกรัฐมนตรีดำเนินการตามกฎหมายกับผู้เกี่ยวข้องกรณีคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบจากการแต่งตั้งบุคคลที่มีลักษณะต้องห้ามเป็นกรรมการสรรหากรรมการผู้จัดการ ต่อมา สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีมีหนังสือ
ลงวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๙ แจ้งผู้ฟ้องคดีว่า ได้ส่งเรื่องให้ผู้ถูกฟ้องคดีซึ่งมีหน้าที่
รับผิดชอบดำเนินการแล้ว แต่ผู้ฟ้องคดียังไม่ได้รับแจ้งผลการพิจารณา จึงนำคดีมาฟ้องต่อ
ศาลปกครองในฐานะที่ผู้ฟ้องคดีเป็นผู้สมัครเข้ารับการสรรหาเป็นกรรมการผู้จัดการ ธพว. ในครั้งนี้ด้วย และในฐานะประชาชนที่พบเห็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ปฏิบัติงาน
ในหน่วยงานของรัฐและได้ทำหนังสือแจ้งไปยังหน่วยงานที่รัฐบาลกำหนดไว้เป็นช่องทาง
รับเรื่องราวร้องทุกข์หรือแจ้งเบาะแสแต่ไม่ได้รับการชี้แจงหรือคำตอบจากหน่วยงาน\n \t\tขอให้ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่ง ดังนี้ \n\t\t๑. ให้ผู้ถูกฟ้องคดีวินิจฉัยเรื่องที่ผู้ฟ้องคดียื่นต่อนายกรัฐมนตรีว่ากรรมการ
ในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ตามคำสั่งคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ที่ ๓๔/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๗ เข้าร่วมประชุมพิจารณาโดยฝ่าฝืนต่อมาตรา ๒๐ อันเป็นเหตุให้พ้นจากตำแหน่งกรรมการตามมาตรา ๑๗ (๕) แห่งพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ หรือไม่ ในการประชุมคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ดังต่อไปนี้ (๑) การประชุมคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๘ วันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๘ วาระเกี่ยวกับการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง กรณีการอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ (๒) การประชุมคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๒๑/๒๕๕๘ วันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๘ วาระเกี่ยวกับการปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง กรณีการอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ (การปรับปรุงองค์ประกอบคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง ครั้งที่ ๑) (๓) การประชุมคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๒๖/๒๕๕๘ วันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ วาระเกี่ยวกับการปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง กรณีการอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ (การปรับปรุงองค์ประกอบคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง ครั้งที่ ๒) และ (๔) การประชุมคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ในเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๕๙
วาระเกี่ยวกับการนำเสนอผลการสอบสวนข้อเท็จจริงของคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง
กรณีการอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ และการแต่งตั้ง
คณะกรรมการพิจารณาวินัยในเรื่องนี้\n\t\t๒. ให้ผู้ถูกฟ้องคดีวินิจฉัยเรื่องที่ผู้ฟ้องคดียื่นต่อนายกรัฐมนตรีว่า การสอบสวนข้อเท็จจริงกรณีอนุมัติสินเชื่อให้กับห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ จะต้องเพิกถอน
ผลการสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงคณะเดิม และแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงขึ้นใหม่เพื่อสอบสวนข้อเท็จจริง หรือไม่\n\t\t๓. ให้ผู้ถูกฟ้องคดีวินิจฉัยเรื่องที่ผู้ฟ้องคดียื่นต่อนายกรัฐมนตรีว่ากรรมการ
ในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
ตามคำสั่งคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
ที่ ๓๔/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๗ ร่วมกันประชุมและมีมติแต่งตั้งบุคคลอย่างน้อย ๓ คน ที่มีลักษณะต้องห้ามเป็นกรรมการสรรหากรรมการผู้จัดการ โดยฝ่าฝืนต่อมาตรา ๘ จัตวา แห่งพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘ หรือไม่\n\t\t๔. ให้ผู้ถูกฟ้องคดีวินิจฉัยเรื่องที่ผู้ฟ้องคดียื่นต่อนายกรัฐมนตรีว่ากรรมการ
ในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ที่ ๓๔/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๗ ร่วมกันประชุมและมีมติแต่งตั้งนายมงคล ลีลาธรรม เป็นกรรมการผู้จัดการ โดยยังไม่ได้ส่งชื่อนายมงคล ลีลาธรรม ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยตรวจสอบ
ความเหมาะสม เป็นการฝ่าฝืนต่อข้อ ๓ (๒) ของคำสั่งกระทรวงการคลัง ที่ ๔๓๓/๒๕๕๘ เรื่อง มอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยกำกับดูแลสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ลงวันที่
๒ เมษายน ๒๕๕๘ หรือไม่\n\t\t๕. ให้ผู้ถูกฟ้องคดีวินิจฉัยเรื่องที่ผู้ฟ้องคดียื่นต่อนายกรัฐมนตรีว่าจะต้อง
เพิกถอนมติที่ประชุมคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทย และคำสั่งคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับการแต่งตั้งนายมงคล ลีลาธรรม เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือไม่\n\t\t๖. ให้ผู้ถูกฟ้องคดีวินิจฉัยเรื่องที่ผู้ฟ้องคดียื่นต่อนายกรัฐมนตรีว่ามีบุคคลใด
เข้าข่ายกระทำผิดตามมาตรา ๑๑ หรือมาตราอื่น แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๐๒ หรือไม่\n\t\t๗. ให้ผู้ถูกฟ้องคดีนำผลการวินิจฉัยในเรื่องที่ผู้ฟ้องคดียื่นต่อนายกรัฐมนตรี
ไปดำเนินการตามกฎหมายต่อไป \n \t\t๘. ให้ผู้ถูกฟ้องคดีมีหนังสือแจ้งผลการวินิจฉัยให้ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
เพื่อกราบเรียนนายกรัฐมนตรี และส่งให้ผู้ฟ้องคดีภายในระยะเวลาไม่เกิน ๓๐ วัน นับแต่
วันที่มีคำสั่งหรือตามระยะเวลาที่ศาลปกครองเห็นว่าเหมาะสม\n \t\tศาลปกครองชั้นต้นพิจารณาแล้วเห็นว่า คดีมีประเด็นที่ต้องวินิจฉัยในชั้นนี้ว่า คำฟ้องในส่วนที่ฟ้องว่า ผู้ฟ้องคดีมีหนังสือลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๙ และวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ขอให้นายกรัฐมนตรีสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องวินิจฉัยสถานะของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
และดำเนินการตามกฎหมาย เนื่องจากประธานกรรมการและกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยเข้าร่วมประชุมพิจารณาเรื่องที่ตนเองมีส่วนได้เสีย อันต้องห้ามตามมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ และเป็นเหตุให้กรรมการพ้นจากตำแหน่งตามมาตรา ๑๗ (๕) แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน ต่อมา สำนักงานปลัด
สำนักนายกรัฐมนตรีมีหนังสือส่งเรื่องดังกล่าวให้ผู้ถูกฟ้องคดีพิจารณาดำเนินการ แต่ผู้ฟ้องคดียังไม่ได้รับแจ้งผลการพิจารณา ขอให้ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งให้ผู้ถูกฟ้องคดีวินิจฉัยเรื่องดังกล่าวและดำเนินการตามกฎหมายต่อไป ทั้งมีหนังสือแจ้งผลการวินิจฉัยให้นายกรัฐมนตรีและผู้ฟ้องคดีทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่มีคำสั่งหรือตามระยะเวลา
ที่ศาลปกครองเห็นว่าเหมาะสม เป็นคำฟ้องที่ศาลรับไว้พิจารณาได้หรือไม่ ศาลปกครองชั้นต้น
เห็นว่า คดีในส่วนนี้เป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้า
เกินสมควร ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๒) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา
คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งเป็นคดีที่อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง
แต่คำฟ้องข้อหานี้ ผู้ถูกฟ้องคดีจะวินิจฉัยเรื่องที่ผู้ฟ้องคดีมีหนังสือลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๙ และวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ยื่นต่อนายกรัฐมนตรี อย่างไร ผลของคำวินิจฉัยอาจมีผลกระทบต่อตำแหน่งหน้าที่ของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ไม่ได้มีผลกระทบต่อตำแหน่งหน้าที่และสิทธิประโยชน์ของผู้ฟ้องคดีแต่อย่างใด ส่วนที่ผู้ฟ้องคดีอ้างว่า คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยมีมติในการประชุม ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๘ วันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๘ แต่งตั้งผู้ฟ้องคดีเป็นกรรมการในคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงกรณีการอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ ต่อมา
คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยมีมติ
ในการประชุม ครั้งที่ ๒๖/๒๕๕๘ วันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงโดยไม่มีชื่อผู้ฟ้องคดีเป็นกรรมการ ทำให้ผู้ฟ้องคดีได้รับความเสียหายต่อชื่อเสียงและอาจถูกมองว่าปฏิบัติงานบกพร่องนั้น เห็นว่า การที่คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยมีมติแต่งตั้งผู้ฟ้องคดีเป็นกรรมการในคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงกรณีการอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกหนี้ราย
ห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ ต่อมาได้มีมติปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงโดยไม่มีชื่อผู้ฟ้องคดีเป็นกรรมการ ย่อมมีผลให้ผู้ฟ้องคดีไม่ต้องปฏิบัติหน้าที่สอบสวนข้อเท็จจริงเรื่องดังกล่าวเท่านั้น ไม่ได้มีผลกระทบต่อตำแหน่งหรือสิทธิประโยชน์ของผู้ฟ้องคดี ทั้งไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่าทำให้ผู้ฟ้องคดีได้รับความเสียหาย
ต่อชื่อเสียงและอาจถูกมองว่าปฏิบัติงานบกพร่องอย่างไร นอกจากนั้นที่ผู้ฟ้องคดีอ้างว่าผู้ปฏิบัติงานไม่มีความมั่นใจในการปฏิบัติตามมติที่ประชุมของคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย เนื่องจากมติดังกล่าวอาจเสียเปล่า
ในภายหลัง ทำให้ผู้ฟ้องคดีเกิดข้อยุ่งยากและเดือดร้อนในการบริหารงาน ก็ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่าผู้ฟ้องคดีเกิดข้อยุ่งยากและเดือดร้อนในการบริหารงานอย่างไรเช่นกัน ด้วยเหตุนี้ จึงรับฟังไม่ได้ว่าผู้ฟ้องคดีเป็นผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายอันเนื่องจากการกระทำหรืองดเว้นการกระทำของผู้ถูกฟ้องคดีตามคำฟ้องข้อหาดังกล่าว เมื่อผู้ฟ้องคดีไม่ใช่ผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหาย แม้ว่าผู้ฟ้องคดีจะเป็นผู้ทำหนังสือลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม
๒๕๕๙ และวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ขอให้นายกรัฐมนตรีสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องวินิจฉัยสถานะของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยและยังไม่ได้รับการชี้แจงหรือคำตอบจากหน่วยงาน ก็ไม่ได้ทำให้ผู้ฟ้องคดีเป็นผู้มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง ตามมาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ
จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ \n \t\tศาลปกครองชั้นต้นมีคำสั่งไม่รับคำฟ้องเฉพาะข้อหานี้ไว้พิจารณา\n \t\tผู้ฟ้องคดียื่นคำร้องอุทธรณ์คำสั่งของศาลปกครองชั้นต้นที่ไม่รับคำฟ้อง
บางข้อหาไว้พิจารณาความว่า ผู้ฟ้องคดีได้ยื่นหนังสือลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๙ และ
ลงวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ถึงนายกรัฐมนตรี ขอให้สั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องวินิจฉัยสถานะของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย แต่ระยะเวลาล่วงไปกว่าหนึ่งปีผู้ถูกฟ้องคดีก็ยังไม่ได้พิจารณา ทั้งที่การพิจารณาเรื่องนี้ควรใช้เวลาไม่เกินสามสิบวัน กรณีจึงเป็นการกระทบต่อสิทธิในการเสนอเรื่องราวร้องทุกข์ต่อหน่วยงานของรัฐและได้รับแจ้งผลการพิจารณาโดยเร็ว ตามมาตรา ๔๑ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ซึ่งการที่ผู้ถูกฟ้องคดีไม่เร่ง
ดำเนินการวินิจฉัยสถานะของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ย่อมทำให้พนักงานและผู้บริหารขาดความศรัทธาและ
ความเชื่อมั่นต่อนโยบาย หรือมติที่ประชุมของคณะกรรมการดังกล่าว ว่าชอบด้วยกฎหมาย
หรือไม่ อันก่อให้เกิดความยุ่งยากในการบริหารงาน ผู้ฟ้องคดีจึงเป็นผู้เดือดร้อนหรือเสียหาย
ซึ่งมีสิทธิฟ้องคดีนี้ต่อศาลปกครอง ส่วนการที่ผู้ฟ้องคดีถูกปลดออกจากกรรมการในคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง มีผลกระทบต่อสิทธิประโยชน์และเกิดความเสียหายต่อ
ผู้ฟ้องคดีเนื่องจาก การปฏิบัติหน้าที่กรรมการในคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง
เป็นงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ ซึ่งผู้แต่งตั้งย่อมพิจารณาแล้วเห็นว่าผู้ฟ้องคดีเป็นผู้มีความรู้
ความสามารถที่จะทำหน้าที่ดังกล่าวได้ และถือเป็นผลการปฏิบัติงานอย่างหนึ่งในการประเมินผลงานประจำปี อันจะทำให้ผู้ฟ้องคดีได้รับคะแนนการประเมินผลงานสูงกว่าปกติ และได้รับการพิจารณาขึ้นเงินเดือน รวมถึงโบนัสประจำปีที่สูงกว่าผู้ที่ไม่ได้รับมอบหมายงาน
พิเศษ นอกจากนี้ การทำหน้าที่กรรมการในคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง ย่อมสามารถนำไปใช้อ้างอิงในการสมัครเข้ารับการสรรหาเพื่อทำหน้าที่อื่น เช่น การสมัครเข้ารับการสรรหา
เป็นกรรมการผู้จัดการ การสมัครเข้าเป็นกรรมการในองค์กรต่างๆ การสมัครเข้ารับการ
อบรมในหลักสูตรต่างๆ รวมถึงการสมัครเข้าคัดเลือกเพื่อดำรงตำแหน่งตุลาการศาลปกครอง การที่ผู้ฟ้องคดีถูกปลดออกจากคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงจึงอาจทำให้ถูกสันนิษฐานว่า ผู้ฟ้องคดีไม่มีความรู้ความสามารถหรือปฏิบัติหน้าที่บกพร่อง อันเป็นการเสื่อมเสียต่อประวัติการทำงาน และทำให้ไม่สามารถนำไปใช้พิจารณาเป็นงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษและ
ไม่สามารถนำไปใช้อ้างอิงเพื่อสมัครตำแหน่งดังกล่าวได้ ด้วยเหตุดังกล่าว ผู้ฟ้องคดีจึงเป็น
ผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายหรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้ อันเนื่องมาจากการกระทำหรืองดเว้นการกระทำของผู้ถูกฟ้องคดี\n \t\tขอให้ศาลปกครองสูงสุดมีคำสั่งกลับคำสั่งของศาลปกครองชั้นต้นเป็นให้รับ
คำฟ้องข้อหานี้ไว้พิจารณา\n\n \t\tศาลปกครองสูงสุดพิเคราะห์แล้วเห็นว่า มาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ
จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติว่า ผู้ใดได้รับความเดือดร้อน
หรือเสียหาย หรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้ อันเนื่องจาก
การกระทำหรือการงดเว้นการกระทำของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือมีข้อ
โต้แย้งเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง หรือกรณีอื่นใดที่อยู่ในเขตอำนาจศาลปกครองตามมาตรา ๙ และการแก้ไขหรือบรรเทาความเดือดร้อนหรือความเสียหายหรือยุติข้อโต้แย้งนั้น ต้องมีคำบังคับตามที่กำหนดในมาตรา ๗๒ ผู้นั้นมีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง มาตรา ๔
แห่งพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๔๕ บัญญัติว่า ในพระราชบัญญัตินี้ รัฐมนตรี หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตาม
พระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๕ วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้เท่าที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของตน มาตรา ๓๒ วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า ในระหว่างที่ธนาคารมีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ ให้รัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของธนาคาร เพื่อการนี้จะสั่งให้ธนาคารชี้แจงข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็น ทำรายงาน หรือยับยั้งการกระทำของธนาคารซึ่งขัดต่อนโยบายของรัฐบาลหรือ
มติคณะรัฐมนตรี ตลอดจนกำหนดหลักเกณฑ์การกำกับดูแล รวมทั้งมีอำนาจสั่งให้ธนาคารปฏิบัติการตามนโยบายของรัฐบาลหรือมติคณะรัฐมนตรีและสั่งสอบสวนข้อเท็จจริง
ที่เกี่ยวกับการดำเนินงานของธนาคารได้\n \t\tคดีมีประเด็นที่ต้องพิจารณาว่า คำฟ้องในส่วนที่ผู้ฟ้องคดีฟ้องว่า ผู้ฟ้องคดีได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายจากการที่ผู้ฟ้องคดีมีหนังสือลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๙ และลงวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ถึงนายกรัฐมนตรี ขอให้สั่งการให้หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องวินิจฉัยสถานะของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ในกรณีที่ประธานกรรมการและกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยเข้าร่วมประชุมพิจารณาเรื่องที่ตนเองมีส่วนได้เสีย อันต้องห้ามตามมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ และเป็นเหตุให้กรรมการพ้นจากตำแหน่งตามมาตรา ๑๗ (๕) แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน ซึ่งสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้มีหนังสือส่งเรื่องดังกล่าวไปยังผู้ถูกฟ้องคดีเพื่อพิจารณาแล้ว แต่ผู้ฟ้องคดียังไม่ได้รับแจ้งผลการพิจารณา ขอให้ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งให้ผู้ถูกฟ้องคดีวินิจฉัยกรณีดังกล่าวและดำเนินการตามกฎหมายต่อไป เป็นคำฟ้องที่ศาลจะรับไว้พิจารณาได้หรือไม่ ศาลปกครองสูงสุดเห็นว่า แม้คดีในข้อหานี้จะเป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงาน
ทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๒) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ แต่เมื่อพิจารณาผลของ
คำวินิจฉัยของผู้ถูกฟ้องคดี ที่หากต่อมาในภายหลังผู้ถูกฟ้องคดีได้มีคำวินิจฉัยเกี่ยวกับสถานะของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยตามหนังสือของผู้ฟ้องคดีลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๙ และลงวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ แล้ว คำวินิจฉัยดังกล่าวย่อมมีผลต่อสถานะในการดำรงตำแหน่งของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย แต่มิได้มีผลกระทบต่อสิทธิและหน้าที่ของผู้ฟ้องคดีซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ในธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยและมิใช่ผู้ดำรงตำแหน่งกรรมการ
ในคณะกรรมการดังกล่าวแต่อย่างใด จึงไม่อาจถือได้ว่าผู้ฟ้องคดีเป็นผู้มีส่วนได้เสีย
ในกรณีดังกล่าว ส่วนกรณีที่ผู้ฟ้องคดีกล่าวอ้างว่า ผู้ฟ้องคดีเป็นผู้มีส่วนได้เสียจากการที่
ผู้ถูกฟ้องคดีละเลยไม่วินิจฉัยสถานะของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย เนื่องจาก คณะกรรมการชุดดังกล่าวได้มีมติ
ในการประชุมครั้งที่ ๒๖/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ให้ปลดผู้ฟ้องคดีออกจากการเป็นกรรมการในคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง ซึ่งหากคณะกรรมการชุดดังกล่าว
มีส่วนได้เสียจริงย่อมส่งผลให้มติดังกล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมายไปด้วยเช่นกันนั้น เห็นว่า
การที่คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยมีมติในการประชุมครั้งที่ ๒๖/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ให้ปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงกรณีการอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด
โรงสีข้าวจงเจริญ โดยไม่มีชื่อผู้ฟ้องคดีเป็นกรรมการ ย่อมส่งผลเพียงให้ผู้ฟ้องคดี
ไม่ต้องปฏิบัติหน้าที่สอบสวนข้อเท็จจริงในเรื่องดังกล่าวอีกต่อไป แต่มิได้มีผลกระทบ
ต่อตำแหน่งหน้าที่หรือสิทธิประโยชน์ใดๆ ของผู้ฟ้องคดีในธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ข้อกล่าวอ้างของผู้ฟ้องคดีจึงฟังไม่ขึ้น ส่วนที่ผู้ฟ้องคดีกล่าวอ้างว่า การถูกปลดออกจากคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงทำให้ผู้ฟ้องคดีไม่สามารถนำผลการปฏิบัติงานดังกล่าวไปใช้อ้างอิงในการพิจารณาประเมินผลงานประจำปีและการพิจารณาโบนัสประจำปี รวมไปถึงไม่สามารถนำไปใช้อ้างอิงในการสมัครเข้ารับการสรรหาเพื่อ
ทำหน้าที่ต่างๆ และยังอาจทำให้ถูกสันนิษฐานว่า ผู้ฟ้องคดีไม่มีความรู้ความสามารถหรือปฏิบัติหน้าที่บกพร่อง อันเป็นการเสื่อมเสียต่อประวัติการทำงานได้นั้น เห็นว่า ข้อกล่าวอ้างดังกล่าวมิใช่ผลโดยตรงจากการที่ผู้ถูกฟ้องคดีละเลยไม่วินิจฉัยสถานะของกรรมการ
ในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
ตามหนังสือลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๙ และลงวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ของผู้ฟ้องคดี นอกจากนี้ ยังไม่ปรากฏข้อเท็จจริงหรือพยานหลักฐานใดที่แสดงให้เห็นได้ว่าจะเป็นจริงดังที่ผู้ฟ้องคดีกล่าวอ้าง กรณีจึงเป็นความเข้าใจของผู้ฟ้องคดีแต่เพียงฝ่ายเดียว ข้อกล่าวอ้างของ
ผู้ฟ้องคดีจึงฟังไม่ขึ้น ด้วยเหตุดังกล่าวข้างต้น ผู้ฟ้องคดีจึงไม่ใช่ผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหาย หรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้อันเนื่องมาจากการละเลยต่อหน้าที่ของผู้ถูกฟ้องคดีที่จะมีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง ตามมาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒\n \t\tการที่ศาลปกครองชั้นต้นมีคำสั่งไม่รับคำฟ้องของผู้ฟ้องคดีในข้อหาดังกล่าว
ไว้พิจารณานั้น ศาลปกครองสูงสุดเห็นพ้องด้วย \n \t\tจึงมีคำสั่งยืนตามคำสั่งของศาลปกครองชั้นต้น\n\nนายประวิตร บุญเทียม\t\t\t\t\t\t ตุลาการเจ้าของสำนวน\nตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด\n\nนายมนูญ ปุญญกริยากร\t\t\t\t\t\t ตุลาการหัวหน้าคณะ\nตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด\n\nนายสมรรถชัย วิศาลาภรณ์\nตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด\n\nนายสมชัย วัฒนการุณ\nตุลาการศาลปกครองสูงสุด \n\nนายไพบูลย์ วราหะไพฑูรย์\nตุลาการศาลปกครองสูงสุด \n\n\n\n\n\n\n\n\nPAGE \n\n\nPAGE \\* MERGEFORMAT๑๓\n\n\n\nคำสั่ง\n\n(ต. ๒๑)\n\n\n\nระหว่าง\n\n/แห่งประเทศไทย...\n\n/ข้อเท็จจริง...\n\n/ขนาดกลาง...\n\n/หลักเกณฑ์...\n\n/แห่งประเทศไทย...\n\n/๔. ให้ผู้ถูกฟ้องคดี...\n\n/พ้นจากตำแหน่ง...\n\n/ประโยชน์...\n\n/ซึ่งมีสิทธิ...\n\n/แห่งพระราชบัญญัติ...\n\n/จัดตั้งศาลปกครอง...\n\n/ดังกล่าว...\n\nวันที่อ่าน ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๐\nเกศินี : ผู้พิมพ์\n\n\n\n\n",
"cat": "คำสั่ง",
"head": "เรื่อง คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่ ตามที่กฎหมายกำห",
"title": "09013-600105-2F-601017-0000608200",
"url": "https://storage.googleapis.com/admincourt/09013-600105-2F-601017-0000608200.pdf"
}),
});
const data = await response.json();
const response = await fetch('http://{{host}}/stat/admincourt2/search', {
method: 'GET',
headers: {},
});
const data = await response.json();
const response = await fetch('http://{{host}}/admincourt2/01012-600604-1F-611113-0000631226', {
method: 'GET',
headers: {},
});
const data = await response.json();
const response = await fetch('http://{{host}}/test', {
method: 'POST',
headers: {
"Content-Type": "application/json"
},
body: JSON.stringify({
"answer": "จึงมีคำสั่งยืนตามคำสั่งของศาลปกครองชั้นกลาง",
"body": "\t\t\t\t\t EMBED MSPhotoEd.3 \t คำร้องที่ คร. ๑๐๕/๒๕๖๐\n\t\t\t\t\t\t\t\t คำสั่งที่ คร. ๓๓/๒๕๖๐\nในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์\n ศาลปกครองสูงสุด\n วันที่ ๕ เดือน กันยายน พุทธศักราช ๒๕๖๐\n\n\t\tนายคงเดชา ชัยรัตน์\t\t\t\t\t\t\t ผู้ฟ้องคดี\n\t\t\n\t\t\n\n \t\tรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง\t\t\t\t ผู้ถูกฟ้องคดี\n\nเรื่อง\tคดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่
ตามที่กฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร (คำร้อง
อุทธรณ์คำสั่งไม่รับคำฟ้องบางข้อหาไว้พิจารณา)\n\n \t\tผู้ฟ้องคดียื่นคำร้องอุทธรณ์คำสั่ง ในคดีหมายเลขดำที่ ๑๘๒๓/๒๕๕๙ ของ
ศาลปกครองชั้นต้น (ศาลปกครองกลาง)\n \t\tคดีนี้ผู้ฟ้องคดีฟ้องและแก้ไขเพิ่มเติมคำฟ้องว่า ผู้ฟ้องคดีเป็นพนักงาน
ของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย มีชื่อย่อว่า ธพว. ตำแหน่งผู้ชำนาญการ ระดับ ๑๕ (เทียบเท่ารองกรรมการผู้จัดการ) ผู้ฟ้องคดียื่นหนังสือต่อนายกรัฐมนตรีขอให้นายกรัฐมนตรีสั่งการให้มีการดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย
กรณีกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยปฏิบัติหน้าที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย จำนวน ๒ เรื่อง เรื่องที่หนึ่ง ประธาน
กรรมการและกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยเข้าร่วมประชุมพิจารณาเรื่องที่ตนเองมีส่วนได้เสียอันต้องห้าม ตามมาตรา ๒๐
แห่งพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๔๕ และเป็นเหตุให้กรรมการพ้นจากตำแหน่งตามมาตรา ๑๗ (๕) แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน กล่าวคือ คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยตามคำสั่งคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทย ที่ ๓๔/๒๕๕๗ ได้อนุมัติสินเชื่อให้กับห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ
เมื่อวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๗ วงเงินรวม ๑๒๕.๕๐ ล้านบาท ตามมติคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๗ วันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๗ ต่อมา ธนาคารแห่งประเทศไทยมีหนังสือ ที่ ธปท.ฝกฉ.(๗๑) ล.๘๒/๒๕๕๘
ลงวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๘ ให้ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการอนุมัติสินเชื่อให้แก่ลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด
โรงสีข้าวจงเจริญ และรายงานผลการสอบสวนให้ธนาคารแห่งประเทศไทยทราบภายใน ๖๐ วัน คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ได้มีการประชุม
ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๘ วันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๘ เพื่อพิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
ข้อเท็จจริงกรณีการอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ
และออกคำสั่งคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ที่ ๑๖/๒๕๕๘ ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
ข้อเท็จจริง ทั้งที่กรรมการทุกคนที่เข้าร่วมประชุมทราบว่าตนเองเป็นผู้มีส่วนได้เสียโดยตรง
ในเรื่องที่พิจารณา เนื่องจากได้เคยร่วมกันประชุมและมีมติอนุมัติสินเชื่อให้กับห้างหุ้นส่วนจำกัด
โรงสีข้าวจงเจริญ ต่อมา กรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อมแห่งประเทศไทยยังร่วมกันประชุม และมีมติในเรื่องที่ตนเองมีส่วนได้เสียอีกในการ
ประชุมคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
ครั้งที่ ๒๑/๒๕๕๘ วันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๘ และครั้งที่ ๒๖/๒๕๕๘ วันที่ ๙ พฤศจิกายน
๒๕๕๘ เรื่อง ปรับปรุงองค์ประกอบคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงกรณีการอนุมัติ
สินเชื่อให้กับลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ นอกจากนี้ เมื่อการสอบสวน
ข้อเท็จจริงแล้วเสร็จ คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยได้ร่วมกันประชุมพิจารณาผลการสอบสวนและมีมติให้ความเห็นชอบ
อันเป็นการร่วมกันพิจารณาในเรื่องที่กรรมการทุกคนมีส่วนได้เสียอีกครั้ง ซึ่งต้องห้ามตาม
มาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ และเป็นเหตุให้กรรมการต้องพ้นจากตำแหน่งตามมาตรา ๑๗ (๕)
แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน ผู้ฟ้องคดีมีหนังสือลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๙ และวันที่
๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ขอให้นายกรัฐมนตรีสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องวินิจฉัยสถานะของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยและดำเนินการตามกฎหมาย ต่อมา สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
มีหนังสือลงวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๙ แจ้งผู้ฟ้องคดีว่า ได้ส่งเรื่องให้ผู้ถูกฟ้องคดีซึ่ง
มีหน้าที่รับผิดชอบดำเนินการแล้ว แต่ผู้ฟ้องคดียังไม่ได้รับแจ้งผลการพิจารณา จึงนำคดี
มาฟ้องต่อศาลปกครองในฐานะที่ผู้ฟ้องคดีเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากมติที่ประชุมที่ไม่ชอบ
ด้วยกฎหมายดังกล่าว เพราะคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยมีมติในการประชุม ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๘ วันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๘ แต่งตั้ง
ผู้ฟ้องคดีเป็นกรรมการในคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงกรณีการอนุมัติสินเชื่อให้กับ
ลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ ต่อมา คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยมีมติในการประชุม ครั้งที่ ๒๖/๒๕๕๘ วันที่ ๙
พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ปลดผู้ฟ้องคดีออกจากการเป็นกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงโดยไม่ได้
แสดงเหตุผล ทำให้ผู้ฟ้องคดีได้รับความเสียหายต่อชื่อเสียง อาจถูกมองว่าปฏิบัติงาน
บกพร่อง และผู้ฟ้องคดีเป็นผู้บริหารระดับสูงซึ่งจะต้องนำมติที่ประชุมของคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ที่มีเหตุต้องพ้นจากตำแหน่งไปใช้ปฏิบัติงาน แต่ผู้ปฏิบัติงานไม่มั่นใจในการปฏิบัติตามมติที่ประชุมดังกล่าวเพราะอาจเสียเปล่าในภายหลัง ทำให้การสั่งการให้ปฏิบัติตามมติที่ประชุมเกิดข้อยุ่งยากและเกิดความเดือดร้อนในการบริหารงาน อีกทั้งผู้ฟ้องคดีในฐานะประชาชนที่พบเห็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐและได้ทำหนังสือแจ้งไปยังหน่วยงานที่รัฐบาลกำหนดไว้เป็นช่องทางรับเรื่องราวร้องทุกข์หรือแจ้งเบาะแส แต่ไม่ได้รับการชี้แจงหรือคำตอบจากหน่วยงาน เรื่องที่สอง คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบจากการแต่งตั้งบุคคลที่มี
ลักษณะต้องห้ามเป็นกรรมการสรรหากรรมการผู้จัดการ กล่าวคือ พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา ๘ จัตวา บัญญัติว่า ในการจ้างและแต่งตั้งผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจ ให้คณะกรรมการของรัฐวิสาหกิจนั้น ตั้งคณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่งมีจำนวนห้าคน ซึ่งต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๘ ตรี (๑) (๓) (๔) (๕) (๖) (๑๑) และ (๑๒) และลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๘ ตรี (๑๒) บัญญัติว่า ไม่เป็นหรือภายในระยะเวลาสามปีก่อนวันได้รับแต่งตั้ง ไม่เคยเป็นกรรมการหรือผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจในการจัดการหรือมีส่วนได้เสีย
ในนิติบุคคลซึ่งเป็นผู้รับสัมปทาน ผู้ร่วมทุน หรือมีประโยชน์ได้เสียเกี่ยวข้องกับกิจการของ
รัฐวิสาหกิจนั้น เว้นแต่การเป็นประธานกรรมการหรือกรรมการในนิติบุคคลดังกล่าวโดยการมอบหมายของรัฐวิสาหกิจนั้น แต่คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยได้แต่งตั้งคณะกรรมการเฉพาะกิจเพื่อสรรหากรรมการผู้จัดการ ธพว. จำนวน ๕ คน เป็นกรรมการ ธพว. ๔ คน และอีก ๑ คน เป็นบุคคลภายนอก
โดยกรรมการจำนวน ๓ คน จาก ๕ คน ที่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย ได้แก่ นายเวทย์ นุชเจริญ ดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการของบริษัท ศรีสวัสดิ์ พาวเวอร์ ๑๙๗๙ จำกัด (มหาชน) เป็นกรรมการของบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน) และเคยเป็นรองกรรมการผู้จัดการ
อาวุโสธนาคารกรุงไทย นางพรรณขนิตตา บุญครอง ดำรงตำแหน่งกรรมการของบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน) และนางเสาวนีย์ กมลบุตร เคยดำรงตำแหน่งประธานกรรมการธนาคารทหารไทย ซึ่งบริษัทและธนาคารข้างต้นเป็นนิติบุคคลที่มีประโยชน์ได้เสียเกี่ยวข้องกับกิจการของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย นอกจากนั้นในขั้นตอนการแต่งตั้ง คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยและกรรมการผู้จัดการ ธพว. (ที่รักษาการในขณะนั้น) ไม่ได้ส่งรายชื่อและประวัติของผู้ที่จะได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้จัดการ ธพว. ไปให้ธนาคาร
แห่งประเทศไทยเพื่อตรวจสอบความเหมาะสมก่อนการแต่งตั้ง เป็นการไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง
กระทรวงการคลัง ที่ ๔๓๓/๒๕๕๘ ลงวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ เรื่อง มอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยกำกับดูแลสถาบันการเงินเฉพาะกิจ อีกทั้งคุณสมบัติของผู้ได้รับคัดเลือก
ให้ดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ธพว. (นายมงคล ลีลาธรรม) อาจไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย และประกาศของคณะกรรมการเฉพาะกิจเพื่อสรรหา
กรรมการผู้จัดการ ธพว. เนื่องจากนายมงคล ลีลาธรรม เคยดำรงตำแหน่งกรรมการ
ผู้จัดการและกรรมการบริหารบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ มหานครทรัสต์ จำกัด ซึ่งถูกธนาคาร
แห่งประเทศไทยสั่งปิดกิจการและเพิกถอนใบอนุญาต และเคยดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการ
องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) และถูกเลิกจ้าง
เพราะได้อนุมัติโครงการที่มีวงเงินเกิน ๕๐ ล้านบาท โดยไม่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ
นโยบาย อันเป็นการกระทำผิดระเบียบขององค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะ
แห่งประเทศไทย ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๕๓ และฝ่าฝืนมติของคณะกรรมการนโยบาย
ผู้ฟ้องคดีจึงมีหนังสือลงวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๙ ขอให้นายกรัฐมนตรีดำเนินการตามกฎหมายกับผู้เกี่ยวข้องกรณีคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบจากการแต่งตั้งบุคคลที่มีลักษณะต้องห้ามเป็นกรรมการสรรหากรรมการผู้จัดการ ต่อมา สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีมีหนังสือ
ลงวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๙ แจ้งผู้ฟ้องคดีว่า ได้ส่งเรื่องให้ผู้ถูกฟ้องคดีซึ่งมีหน้าที่
รับผิดชอบดำเนินการแล้ว แต่ผู้ฟ้องคดียังไม่ได้รับแจ้งผลการพิจารณา จึงนำคดีมาฟ้องต่อ
ศาลปกครองในฐานะที่ผู้ฟ้องคดีเป็นผู้สมัครเข้ารับการสรรหาเป็นกรรมการผู้จัดการ ธพว. ในครั้งนี้ด้วย และในฐานะประชาชนที่พบเห็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายของผู้ปฏิบัติงาน
ในหน่วยงานของรัฐและได้ทำหนังสือแจ้งไปยังหน่วยงานที่รัฐบาลกำหนดไว้เป็นช่องทาง
รับเรื่องราวร้องทุกข์หรือแจ้งเบาะแสแต่ไม่ได้รับการชี้แจงหรือคำตอบจากหน่วยงาน\n \t\tขอให้ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่ง ดังนี้ \n\t\t๑. ให้ผู้ถูกฟ้องคดีวินิจฉัยเรื่องที่ผู้ฟ้องคดียื่นต่อนายกรัฐมนตรีว่ากรรมการ
ในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ตามคำสั่งคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ที่ ๓๔/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๗ เข้าร่วมประชุมพิจารณาโดยฝ่าฝืนต่อมาตรา ๒๐ อันเป็นเหตุให้พ้นจากตำแหน่งกรรมการตามมาตรา ๑๗ (๕) แห่งพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ หรือไม่ ในการประชุมคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ดังต่อไปนี้ (๑) การประชุมคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๘ วันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๘ วาระเกี่ยวกับการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง กรณีการอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ (๒) การประชุมคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๒๑/๒๕๕๘ วันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๘ วาระเกี่ยวกับการปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง กรณีการอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ (การปรับปรุงองค์ประกอบคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง ครั้งที่ ๑) (๓) การประชุมคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๒๖/๒๕๕๘ วันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ วาระเกี่ยวกับการปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง กรณีการอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ (การปรับปรุงองค์ประกอบคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง ครั้งที่ ๒) และ (๔) การประชุมคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ในเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๕๙
วาระเกี่ยวกับการนำเสนอผลการสอบสวนข้อเท็จจริงของคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง
กรณีการอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ และการแต่งตั้ง
คณะกรรมการพิจารณาวินัยในเรื่องนี้\n\t\t๒. ให้ผู้ถูกฟ้องคดีวินิจฉัยเรื่องที่ผู้ฟ้องคดียื่นต่อนายกรัฐมนตรีว่า การสอบสวนข้อเท็จจริงกรณีอนุมัติสินเชื่อให้กับห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ จะต้องเพิกถอน
ผลการสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงคณะเดิม และแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงขึ้นใหม่เพื่อสอบสวนข้อเท็จจริง หรือไม่\n\t\t๓. ให้ผู้ถูกฟ้องคดีวินิจฉัยเรื่องที่ผู้ฟ้องคดียื่นต่อนายกรัฐมนตรีว่ากรรมการ
ในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
ตามคำสั่งคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
ที่ ๓๔/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๗ ร่วมกันประชุมและมีมติแต่งตั้งบุคคลอย่างน้อย ๓ คน ที่มีลักษณะต้องห้ามเป็นกรรมการสรรหากรรมการผู้จัดการ โดยฝ่าฝืนต่อมาตรา ๘ จัตวา แห่งพระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘ หรือไม่\n\t\t๔. ให้ผู้ถูกฟ้องคดีวินิจฉัยเรื่องที่ผู้ฟ้องคดียื่นต่อนายกรัฐมนตรีว่ากรรมการ
ในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ที่ ๓๔/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๗ ร่วมกันประชุมและมีมติแต่งตั้งนายมงคล ลีลาธรรม เป็นกรรมการผู้จัดการ โดยยังไม่ได้ส่งชื่อนายมงคล ลีลาธรรม ให้ธนาคารแห่งประเทศไทยตรวจสอบ
ความเหมาะสม เป็นการฝ่าฝืนต่อข้อ ๓ (๒) ของคำสั่งกระทรวงการคลัง ที่ ๔๓๓/๒๕๕๘ เรื่อง มอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยกำกับดูแลสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ลงวันที่
๒ เมษายน ๒๕๕๘ หรือไม่\n\t\t๕. ให้ผู้ถูกฟ้องคดีวินิจฉัยเรื่องที่ผู้ฟ้องคดียื่นต่อนายกรัฐมนตรีว่าจะต้อง
เพิกถอนมติที่ประชุมคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทย และคำสั่งคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับการแต่งตั้งนายมงคล ลีลาธรรม เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือไม่\n\t\t๖. ให้ผู้ถูกฟ้องคดีวินิจฉัยเรื่องที่ผู้ฟ้องคดียื่นต่อนายกรัฐมนตรีว่ามีบุคคลใด
เข้าข่ายกระทำผิดตามมาตรา ๑๑ หรือมาตราอื่น แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๐๒ หรือไม่\n\t\t๗. ให้ผู้ถูกฟ้องคดีนำผลการวินิจฉัยในเรื่องที่ผู้ฟ้องคดียื่นต่อนายกรัฐมนตรี
ไปดำเนินการตามกฎหมายต่อไป \n \t\t๘. ให้ผู้ถูกฟ้องคดีมีหนังสือแจ้งผลการวินิจฉัยให้ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
เพื่อกราบเรียนนายกรัฐมนตรี และส่งให้ผู้ฟ้องคดีภายในระยะเวลาไม่เกิน ๓๐ วัน นับแต่
วันที่มีคำสั่งหรือตามระยะเวลาที่ศาลปกครองเห็นว่าเหมาะสม\n \t\tศาลปกครองชั้นต้นพิจารณาแล้วเห็นว่า คดีมีประเด็นที่ต้องวินิจฉัยในชั้นนี้ว่า คำฟ้องในส่วนที่ฟ้องว่า ผู้ฟ้องคดีมีหนังสือลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๙ และวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ขอให้นายกรัฐมนตรีสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องวินิจฉัยสถานะของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
และดำเนินการตามกฎหมาย เนื่องจากประธานกรรมการและกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยเข้าร่วมประชุมพิจารณาเรื่องที่ตนเองมีส่วนได้เสีย อันต้องห้ามตามมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ และเป็นเหตุให้กรรมการพ้นจากตำแหน่งตามมาตรา ๑๗ (๕) แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน ต่อมา สำนักงานปลัด
สำนักนายกรัฐมนตรีมีหนังสือส่งเรื่องดังกล่าวให้ผู้ถูกฟ้องคดีพิจารณาดำเนินการ แต่ผู้ฟ้องคดียังไม่ได้รับแจ้งผลการพิจารณา ขอให้ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งให้ผู้ถูกฟ้องคดีวินิจฉัยเรื่องดังกล่าวและดำเนินการตามกฎหมายต่อไป ทั้งมีหนังสือแจ้งผลการวินิจฉัยให้นายกรัฐมนตรีและผู้ฟ้องคดีทราบภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่มีคำสั่งหรือตามระยะเวลา
ที่ศาลปกครองเห็นว่าเหมาะสม เป็นคำฟ้องที่ศาลรับไว้พิจารณาได้หรือไม่ ศาลปกครองชั้นต้น
เห็นว่า คดีในส่วนนี้เป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้า
เกินสมควร ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๒) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา
คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งเป็นคดีที่อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง
แต่คำฟ้องข้อหานี้ ผู้ถูกฟ้องคดีจะวินิจฉัยเรื่องที่ผู้ฟ้องคดีมีหนังสือลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๙ และวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ยื่นต่อนายกรัฐมนตรี อย่างไร ผลของคำวินิจฉัยอาจมีผลกระทบต่อตำแหน่งหน้าที่ของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ไม่ได้มีผลกระทบต่อตำแหน่งหน้าที่และสิทธิประโยชน์ของผู้ฟ้องคดีแต่อย่างใด ส่วนที่ผู้ฟ้องคดีอ้างว่า คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยมีมติในการประชุม ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๘ วันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๘ แต่งตั้งผู้ฟ้องคดีเป็นกรรมการในคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงกรณีการอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ ต่อมา
คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยมีมติ
ในการประชุม ครั้งที่ ๒๖/๒๕๕๘ วันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงโดยไม่มีชื่อผู้ฟ้องคดีเป็นกรรมการ ทำให้ผู้ฟ้องคดีได้รับความเสียหายต่อชื่อเสียงและอาจถูกมองว่าปฏิบัติงานบกพร่องนั้น เห็นว่า การที่คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยมีมติแต่งตั้งผู้ฟ้องคดีเป็นกรรมการในคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงกรณีการอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกหนี้ราย
ห้างหุ้นส่วนจำกัด โรงสีข้าวจงเจริญ ต่อมาได้มีมติปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงโดยไม่มีชื่อผู้ฟ้องคดีเป็นกรรมการ ย่อมมีผลให้ผู้ฟ้องคดีไม่ต้องปฏิบัติหน้าที่สอบสวนข้อเท็จจริงเรื่องดังกล่าวเท่านั้น ไม่ได้มีผลกระทบต่อตำแหน่งหรือสิทธิประโยชน์ของผู้ฟ้องคดี ทั้งไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่าทำให้ผู้ฟ้องคดีได้รับความเสียหาย
ต่อชื่อเสียงและอาจถูกมองว่าปฏิบัติงานบกพร่องอย่างไร นอกจากนั้นที่ผู้ฟ้องคดีอ้างว่าผู้ปฏิบัติงานไม่มีความมั่นใจในการปฏิบัติตามมติที่ประชุมของคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย เนื่องจากมติดังกล่าวอาจเสียเปล่า
ในภายหลัง ทำให้ผู้ฟ้องคดีเกิดข้อยุ่งยากและเดือดร้อนในการบริหารงาน ก็ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่าผู้ฟ้องคดีเกิดข้อยุ่งยากและเดือดร้อนในการบริหารงานอย่างไรเช่นกัน ด้วยเหตุนี้ จึงรับฟังไม่ได้ว่าผู้ฟ้องคดีเป็นผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายอันเนื่องจากการกระทำหรืองดเว้นการกระทำของผู้ถูกฟ้องคดีตามคำฟ้องข้อหาดังกล่าว เมื่อผู้ฟ้องคดีไม่ใช่ผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหาย แม้ว่าผู้ฟ้องคดีจะเป็นผู้ทำหนังสือลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม
๒๕๕๙ และวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ขอให้นายกรัฐมนตรีสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องวินิจฉัยสถานะของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยและยังไม่ได้รับการชี้แจงหรือคำตอบจากหน่วยงาน ก็ไม่ได้ทำให้ผู้ฟ้องคดีเป็นผู้มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง ตามมาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ
จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ \n \t\tศาลปกครองชั้นต้นมีคำสั่งไม่รับคำฟ้องเฉพาะข้อหานี้ไว้พิจารณา\n \t\tผู้ฟ้องคดียื่นคำร้องอุทธรณ์คำสั่งของศาลปกครองชั้นต้นที่ไม่รับคำฟ้อง
บางข้อหาไว้พิจารณาความว่า ผู้ฟ้องคดีได้ยื่นหนังสือลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๙ และ
ลงวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ถึงนายกรัฐมนตรี ขอให้สั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องวินิจฉัยสถานะของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย แต่ระยะเวลาล่วงไปกว่าหนึ่งปีผู้ถูกฟ้องคดีก็ยังไม่ได้พิจารณา ทั้งที่การพิจารณาเรื่องนี้ควรใช้เวลาไม่เกินสามสิบวัน กรณีจึงเป็นการกระทบต่อสิทธิในการเสนอเรื่องราวร้องทุกข์ต่อหน่วยงานของรัฐและได้รับแจ้งผลการพิจารณาโดยเร็ว ตามมาตรา ๔๑ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ซึ่งการที่ผู้ถูกฟ้องคดีไม่เร่ง
ดำเนินการวินิจฉัยสถานะของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ย่อมทำให้พนักงานและผู้บริหารขาดความศรัทธาและ
ความเชื่อมั่นต่อนโยบาย หรือมติที่ประชุมของคณะกรรมการดังกล่าว ว่าชอบด้วยกฎหมาย
หรือไม่ อันก่อให้เกิดความยุ่งยากในการบริหารงาน ผู้ฟ้องคดีจึงเป็นผู้เดือดร้อนหรือเสียหาย
ซึ่งมีสิทธิฟ้องคดีนี้ต่อศาลปกครอง ส่วนการที่ผู้ฟ้องคดีถูกปลดออกจากกรรมการในคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง มีผลกระทบต่อสิทธิประโยชน์และเกิดความเสียหายต่อ
ผู้ฟ้องคดีเนื่องจาก การปฏิบัติหน้าที่กรรมการในคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง
เป็นงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ ซึ่งผู้แต่งตั้งย่อมพิจารณาแล้วเห็นว่าผู้ฟ้องคดีเป็นผู้มีความรู้
ความสามารถที่จะทำหน้าที่ดังกล่าวได้ และถือเป็นผลการปฏิบัติงานอย่างหนึ่งในการประเมินผลงานประจำปี อันจะทำให้ผู้ฟ้องคดีได้รับคะแนนการประเมินผลงานสูงกว่าปกติ และได้รับการพิจารณาขึ้นเงินเดือน รวมถึงโบนัสประจำปีที่สูงกว่าผู้ที่ไม่ได้รับมอบหมายงาน
พิเศษ นอกจากนี้ การทำหน้าที่กรรมการในคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง ย่อมสามารถนำไปใช้อ้างอิงในการสมัครเข้ารับการสรรหาเพื่อทำหน้าที่อื่น เช่น การสมัครเข้ารับการสรรหา
เป็นกรรมการผู้จัดการ การสมัครเข้าเป็นกรรมการในองค์กรต่างๆ การสมัครเข้ารับการ
อบรมในหลักสูตรต่างๆ รวมถึงการสมัครเข้าคัดเลือกเพื่อดำรงตำแหน่งตุลาการศาลปกครอง การที่ผู้ฟ้องคดีถูกปลดออกจากคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงจึงอาจทำให้ถูกสันนิษฐานว่า ผู้ฟ้องคดีไม่มีความรู้ความสามารถหรือปฏิบัติหน้าที่บกพร่อง อันเป็นการเสื่อมเสียต่อประวัติการทำงาน และทำให้ไม่สามารถนำไปใช้พิจารณาเป็นงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษและ
ไม่สามารถนำไปใช้อ้างอิงเพื่อสมัครตำแหน่งดังกล่าวได้ ด้วยเหตุดังกล่าว ผู้ฟ้องคดีจึงเป็น
ผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายหรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้ อันเนื่องมาจากการกระทำหรืองดเว้นการกระทำของผู้ถูกฟ้องคดี\n \t\tขอให้ศาลปกครองสูงสุดมีคำสั่งกลับคำสั่งของศาลปกครองชั้นต้นเป็นให้รับ
คำฟ้องข้อหานี้ไว้พิจารณา\n\n \t\tศาลปกครองสูงสุดพิเคราะห์แล้วเห็นว่า มาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ
จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติว่า ผู้ใดได้รับความเดือดร้อน
หรือเสียหาย หรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้ อันเนื่องจาก
การกระทำหรือการงดเว้นการกระทำของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือมีข้อ
โต้แย้งเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง หรือกรณีอื่นใดที่อยู่ในเขตอำนาจศาลปกครองตามมาตรา ๙ และการแก้ไขหรือบรรเทาความเดือดร้อนหรือความเสียหายหรือยุติข้อโต้แย้งนั้น ต้องมีคำบังคับตามที่กำหนดในมาตรา ๗๒ ผู้นั้นมีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง มาตรา ๔
แห่งพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
พ.ศ. ๒๕๔๕ บัญญัติว่า ในพระราชบัญญัตินี้ รัฐมนตรี หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตาม
พระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๕ วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้เท่าที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของตน มาตรา ๓๒ วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า ในระหว่างที่ธนาคารมีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ ให้รัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของธนาคาร เพื่อการนี้จะสั่งให้ธนาคารชี้แจงข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็น ทำรายงาน หรือยับยั้งการกระทำของธนาคารซึ่งขัดต่อนโยบายของรัฐบาลหรือ
มติคณะรัฐมนตรี ตลอดจนกำหนดหลักเกณฑ์การกำกับดูแล รวมทั้งมีอำนาจสั่งให้ธนาคารปฏิบัติการตามนโยบายของรัฐบาลหรือมติคณะรัฐมนตรีและสั่งสอบสวนข้อเท็จจริง
ที่เกี่ยวกับการดำเนินงานของธนาคารได้\n \t\tคดีมีประเด็นที่ต้องพิจารณาว่า คำฟ้องในส่วนที่ผู้ฟ้องคดีฟ้องว่า ผู้ฟ้องคดีได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายจากการที่ผู้ฟ้องคดีมีหนังสือลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๙ และลงวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ถึงนายกรัฐมนตรี ขอให้สั่งการให้หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องวินิจฉัยสถานะของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ในกรณีที่ประธานกรรมการและกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยเข้าร่วมประชุมพิจารณาเรื่องที่ตนเองมีส่วนได้เสีย อันต้องห้ามตามมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๕ และเป็นเหตุให้กรรมการพ้นจากตำแหน่งตามมาตรา ๑๗ (๕) แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน ซึ่งสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได้มีหนังสือส่งเรื่องดังกล่าวไปยังผู้ถูกฟ้องคดีเพื่อพิจารณาแล้ว แต่ผู้ฟ้องคดียังไม่ได้รับแจ้งผลการพิจารณา ขอให้ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งให้ผู้ถูกฟ้องคดีวินิจฉัยกรณีดังกล่าวและดำเนินการตามกฎหมายต่อไป เป็นคำฟ้องที่ศาลจะรับไว้พิจารณาได้หรือไม่ ศาลปกครองสูงสุดเห็นว่า แม้คดีในข้อหานี้จะเป็นคดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงาน
ทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๒) แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ แต่เมื่อพิจารณาผลของ
คำวินิจฉัยของผู้ถูกฟ้องคดี ที่หากต่อมาในภายหลังผู้ถูกฟ้องคดีได้มีคำวินิจฉัยเกี่ยวกับสถานะของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
แห่งประเทศไทยตามหนังสือของผู้ฟ้องคดีลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๙ และลงวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ แล้ว คำวินิจฉัยดังกล่าวย่อมมีผลต่อสถานะในการดำรงตำแหน่งของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย แต่มิได้มีผลกระทบต่อสิทธิและหน้าที่ของผู้ฟ้องคดีซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ในธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยและมิใช่ผู้ดำรงตำแหน่งกรรมการ
ในคณะกรรมการดังกล่าวแต่อย่างใด จึงไม่อาจถือได้ว่าผู้ฟ้องคดีเป็นผู้มีส่วนได้เสีย
ในกรณีดังกล่าว ส่วนกรณีที่ผู้ฟ้องคดีกล่าวอ้างว่า ผู้ฟ้องคดีเป็นผู้มีส่วนได้เสียจากการที่
ผู้ถูกฟ้องคดีละเลยไม่วินิจฉัยสถานะของกรรมการในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย เนื่องจาก คณะกรรมการชุดดังกล่าวได้มีมติ
ในการประชุมครั้งที่ ๒๖/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ให้ปลดผู้ฟ้องคดีออกจากการเป็นกรรมการในคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง ซึ่งหากคณะกรรมการชุดดังกล่าว
มีส่วนได้เสียจริงย่อมส่งผลให้มติดังกล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมายไปด้วยเช่นกันนั้น เห็นว่า
การที่คณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยมีมติในการประชุมครั้งที่ ๒๖/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ ให้ปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงกรณีการอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกหนี้รายห้างหุ้นส่วนจำกัด
โรงสีข้าวจงเจริญ โดยไม่มีชื่อผู้ฟ้องคดีเป็นกรรมการ ย่อมส่งผลเพียงให้ผู้ฟ้องคดี
ไม่ต้องปฏิบัติหน้าที่สอบสวนข้อเท็จจริงในเรื่องดังกล่าวอีกต่อไป แต่มิได้มีผลกระทบ
ต่อตำแหน่งหน้าที่หรือสิทธิประโยชน์ใดๆ ของผู้ฟ้องคดีในธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ข้อกล่าวอ้างของผู้ฟ้องคดีจึงฟังไม่ขึ้น ส่วนที่ผู้ฟ้องคดีกล่าวอ้างว่า การถูกปลดออกจากคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงทำให้ผู้ฟ้องคดีไม่สามารถนำผลการปฏิบัติงานดังกล่าวไปใช้อ้างอิงในการพิจารณาประเมินผลงานประจำปีและการพิจารณาโบนัสประจำปี รวมไปถึงไม่สามารถนำไปใช้อ้างอิงในการสมัครเข้ารับการสรรหาเพื่อ
ทำหน้าที่ต่างๆ และยังอาจทำให้ถูกสันนิษฐานว่า ผู้ฟ้องคดีไม่มีความรู้ความสามารถหรือปฏิบัติหน้าที่บกพร่อง อันเป็นการเสื่อมเสียต่อประวัติการทำงานได้นั้น เห็นว่า ข้อกล่าวอ้างดังกล่าวมิใช่ผลโดยตรงจากการที่ผู้ถูกฟ้องคดีละเลยไม่วินิจฉัยสถานะของกรรมการ
ในคณะกรรมการธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
ตามหนังสือลงวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๙ และลงวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ของผู้ฟ้องคดี นอกจากนี้ ยังไม่ปรากฏข้อเท็จจริงหรือพยานหลักฐานใดที่แสดงให้เห็นได้ว่าจะเป็นจริงดังที่ผู้ฟ้องคดีกล่าวอ้าง กรณีจึงเป็นความเข้าใจของผู้ฟ้องคดีแต่เพียงฝ่ายเดียว ข้อกล่าวอ้างของ
ผู้ฟ้องคดีจึงฟังไม่ขึ้น ด้วยเหตุดังกล่าวข้างต้น ผู้ฟ้องคดีจึงไม่ใช่ผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหาย หรืออาจจะเดือดร้อนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได้อันเนื่องมาจากการละเลยต่อหน้าที่ของผู้ถูกฟ้องคดีที่จะมีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง ตามมาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง
แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒\n \t\tการที่ศาลปกครองชั้นต้นมีคำสั่งไม่รับคำฟ้องของผู้ฟ้องคดีในข้อหาดังกล่าว
ไว้พิจารณานั้น ศาลปกครองสูงสุดเห็นพ้องด้วย \n \t\tจึงมีคำสั่งยืนตามคำสั่งของศาลปกครองชั้นต้น\n\nนายประวิตร บุญเทียม\t\t\t\t\t\t ตุลาการเจ้าของสำนวน\nตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด\n\nนายมนูญ ปุญญกริยากร\t\t\t\t\t\t ตุลาการหัวหน้าคณะ\nตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด\n\nนายสมรรถชัย วิศาลาภรณ์\nตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด\n\nนายสมชัย วัฒนการุณ\nตุลาการศาลปกครองสูงสุด \n\nนายไพบูลย์ วราหะไพฑูรย์\nตุลาการศาลปกครองสูงสุด \n\n\n\n\n\n\n\n\nPAGE \n\n\nPAGE \\* MERGEFORMAT๑๓\n\n\n\nคำสั่ง\n\n(ต. ๒๑)\n\n\n\nระหว่าง\n\n/แห่งประเทศไทย...\n\n/ข้อเท็จจริง...\n\n/ขนาดกลาง...\n\n/หลักเกณฑ์...\n\n/แห่งประเทศไทย...\n\n/๔. ให้ผู้ถูกฟ้องคดี...\n\n/พ้นจากตำแหน่ง...\n\n/ประโยชน์...\n\n/ซึ่งมีสิทธิ...\n\n/แห่งพระราชบัญญัติ...\n\n/จัดตั้งศาลปกครอง...\n\n/ดังกล่าว...\n\nวันที่อ่าน ๑๗ ตุลาคม ๒๕๖๐\nเกศินี : ผู้พิมพ์\n\n\n\n\n",
"cat": "คำสั่ง",
"head": "เรื่อง คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่ ตามที่กฎหมายกำห",
"title": "09013-600105-2F-601017-0000608200",
"url": "https://storage.googleapis.com/admincourt/09013-600105-2F-601017-0000608200.pdf"
}),
});
const data = await response.json();
const response = await fetch('http://{{host}}/log/admincourt2/search/1669898670865430/1669898670865431', {
method: 'GET',
headers: {},
});
const data = await response.json();
const response = await fetch('http://{{host}}/search/admincourt2', {
method: 'GET',
headers: {},
});
const data = await response.json();